กำลังหลักคือ ประชาชนผู้รักประชาธิปไตย และ ทุนใหม่ที่ก้าวหน้า
ใช้การต่อสู้ใน 2 แนวทาง 3 แนวรบยุทธศาสตร์สะสมกำลังลุกขึ้นสู้เมื่อมีความพร้อม
2 แนวทาง คือ แนวทางสภา และ แนวทางนอกสภา
- ต้องใช้แนวทางนอกสภาเป็นด้านหลัก ใช้แนวทางสภาเป็นตัวเสริมอาจจะปรับเปลี่ยนตามโอกาส
- แนวทางสภายุทธศาสตร์ เพื่อชนะการเลือกตั้ง เป็นรัฐบาล
- แนวทางนอกสภายุทธศาสตร์สะสมกำลังลุกขึ้นสู้เมื่อมีความพร้อมเดินถนนใหญ่ไปสุดปลายทาง
3 แนวรบ คือ แนวรบในเมือง ในชนบท และ ต่างประเทศ ประสานกันทั้งแนวปิดและแนวเปิด
เวลานี้แนวทางสภาต้องยุติลง เหลือแต่แนวทางนอกสภา
ในการขับเคลื่อน แนวทางนอกสภา ต้องแบ่งเป็น 2 แนวทางคือ
แนวปิดและแนวเปิดโดยใช้แนวปิดเป็นด้านหลัก แนวเปิดเป็นด้านรอง
จัดตั้งองค์กรนำ มีผู้นำคณะผู้นำ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
ข้อสรุปการต่อสู้ที่ผ่านมาผิดพลาด
ใช้ทฤษฎี 2 ขา แทนที่จะใช้ 2แนวทาง
ใช้แนวทางสภาเป็นแนวทางหลัก ใช้แนวทางนอกสภาเป็นแนวทางรองหนุนแนวทางหลัก เมื่อแนวทางสภาหยุด แนวทางนอกสภาก็เดินไม่ได้
แต่ถ้าใช้แนวทางนอกสภาเป็นแนวทางหลัก
เมื่อแนวทางสภาหยุดลงแนวทางนอกสภา
ก็จะขับเคลื่อนต่อไปอย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพสูงขึ้น
ครั้นเวลานี้แนวทางสภาต้องยุติลง ก็มีเพียงการต่อสู้แนวทางนอกสภาเท่านั้น
แนวทางการต่อสู้นอกสภา แบ่งเป็น 2 แนวทางคือ
แนวทางปิด กับ แนวทางเปิด จะต้องใช้แนวปิดเป็นด้านหลัก แนวเปิดเป็นด้านรองจึงถูกต้องอย่าใช้แนวเปิดเป็นด้านหลัก
ข้อดีของการต่อสู้ปัจจุบัน
1. มีองค์กรนำ 2. มีผู้นำ 3. มีข้อสรุป 4. มีมวลชนตาสว่างทั่วประเทศ 5. มีกระแสโลกสนับสนุน
การต่อสู้ 3 ขั้นยุทธศาสตร์
1. ขั้นรับ 2. ขั้นยัน 3. ขั้นรุก
1. ยุทธศาสตร์ ขั้นรับ แบ่งออกเป็น 2 แนวทาง คือ
- แนวทางเปิด ชูท่าน จารุพงษ์ เรืองสุวรรณ
ในฐานะหัวหน้าพรรคเพื่อไทย รมว.มหาดไทย และเลขาธิการกลุ่มเสรีไทย
ไม่ตั้งเป็นรัฐบาลพลัดถิ่น เพราะเชื่อว่ารัฐบาลที่ชอบธรรมยังอยู่
พรรคเพื่อไทยยังอยู่ ไม่ยอมรับรัฐประหาร ออกแถลงการณ์ ข้อเรียกร้องคำชี้แนะ
สนับสนุนการเคลื่อนไหวที่หลากหลายของประชาชนทั้งในและนอกประเทศ
ทำหนังสือเรียกร้องต่อนานาชาติ สหประชาชาติ และ กลุ่มอาเซียน
เรื่องการล้มล้างประชาธิปไตยและการละเมิดสิทธิ์มนุษยชนในประเทศไทย
ขอให้มีการแทรกแซง
- แนวทางปิด จัดตั้งมวลชนสร้างฐานที่มั่น จัดตั้งกองกำลัง เพื่อก้าวสู่ยุทธศาสตร์ขั้นยัน
2. ยุทธศาสตร์ ขั้นยัน
เกิดขึ้นเมื่อการต่อสู้ในยุทธศาสตร์ขั้นรับ
พัฒนาถึงขั้นมีมวลชนจำนวนมาก มีกองกำลังที่เข้มแข็ง มีฐานที่มั่น
อาจถึงขั้นยึดเป็นจังหวัด สามารถยันข้าศึกที่บุกรุกได้ เมื่อถึงขั้นนี้
สภาพการณ์จะเป็น 1 ประเทศ 2 อำนาจรัฐ หรือ 2 รัฐบาล
ประจันหน้ากันเมื่อถึงเวลานั้นต่างชาติจะเข้ามาแทรกแซงหนุนฝ่ายประชาชน
สถานะการณ์ของการต่อสู้ก็จะพัฒนาเข้าสู่ยุทธศาสตร์ขั้นรุกอย่างรวดเร็ว
3.ยุทธศาสตร์ขั้นรุก
เป็นขั้นสุดท้ายของ สงครามการปฎิวัติ มีการรุกคืบเข้าเมือง
จุดสำคัญทางยุทธศาสตร์ ปิดเขี่อน ตัดกระแสไฟ ตัดเส้นทางลำเลียง
ปิดล้อมกรุงเทพต่อรองให้ยอมแพ้
การต่อสู้ในสงครามปฎิวัติจะยุ่งยากและเชื่องช้า ในยุทธศาสตร์ขั้นรับ
ต้องใช้เวลานาน อุปสรรค์ไม่ใช้ฝ่ายตรงข้าม แต่เป็นฝ่ายเราเอง
ที่เป็นแนวคิดปฎิรูป ที่ผ่านมาคือ พรรคเพื่อไทย และ นปช.
เหนี่ยวรั้งการปฎิวัติมาตลอด
การทำงานในแนวทางปิด
1. กำหนดพื้นที่ทางยุทธศาสตร์ ในการเคลื่อนไหวและการจัดตั้งมวลชน
2. ฝึกผู้ปฎิบัติงาน มวลชนและผู้ปฎิบัติงานกองกำลังเพื่อทำงานควบคู่กัน
3. ส่งผู้ปฎิบัติงานเข้าพื้นที่ต่างๆเน้นเป็นคนในพื้นที่ ซึ่งรู้สถานะในหมู่บ้านของตน เป็นอย่างดี
4. สำรวจความคิดประชากรในหมู่บ้าน แบ่งเป็น 3 ประเภท
1.เห็นด้วยกับพวกเรา
2.อยู่เฉยทำมาหากินปกติ
3.ทำตัวเป็นปฎิปักษ์ กับพวกเรา
5. ทำการจัดตั้งคนที่เห็นด้วยกับพวกเรา
ขอการสนับสนุนกับคนกลางๆ ตักเตือนกดดันคนที่เป็นปฎิปักษ์ ถ้าไม่เชื่อ
ต้องกำจัด เป็นงานมวลชนติดอาวุธจะทำให้สามารถขยายตัวอย่างรวดเร็ว
6. เมื่องานจัดตั้งมวลชนขยายตัวอย่างกว้างขวางและครอบคลุมพื้นที่หลายจังหวัดจนสามารถยกระดับจากเขตงานมวลชน เป็นฐานที่มั่น
และเมื่อประสานกับการจัดตั้งกองกำลัง
เข้มแข็งขึ้นก็จะสามารถประกาศเป็นฐานที่มั่นหลายฐานที่มั่น
แบ่งประเทศเป็น1ประเทศ2อำนาจรัฐ เข้าสู่ยุทธศาสตร์ขั้นยัน
เมื่อถึงขั้นนี้ ตำรวจ ทหาร
และผู้เห็นด้วยกับการปฎิวัติก็จะหลั่งไหลเข้ามาสู่ฐานที่มั่น
ต่างชาติก็จะเข้าแทรกแซงสนับสนุนฝ่ายประชาชน
ยุทธศาสตร์ขั้นรุกก็จะเกิดขึ้นปฎิบัติการในยุทธศาสตร์ขั้นรุกจะมีการยึด
กิจการและธุระกิจของฝ่ายตรงข้าม มีการยึดสถานีตำรวจ
ค่ายทหารยึดเมืองปิดเขื่อนตัดกระแสไฟฟ้าเข้าเมืองหลวงและเมืองหลัก
ตัดเสนทางคมนาคม
ปิดล้อมเมืองหลวงและเมืองหลักประกาศชัยชนะอย่างอย่างเป็นขั้นตอนพร้อมกับ
ดำเนินการระหว่างประเทศขอการรับรองจากนานาชาติ
โดดเดี่ยวฝ่ายตรงข้ามจนยอมแพ้
ในการปฏิวัติ ต้องฝึกตนเองให้มีวุฒิภาวะ6 ข้อคือ
1. ไม่เห็นแก่ตัว
2. มีอิสระทางความคิด
3. มีความอดทนอดกลั้น
4. มีศีลธรรม
5. มีความมุ่งมั่นใฝ่ฝัน
6. มีการวิจารณ์ตัวเอง
วันพฤหัสบดีที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
ทฤษฎีการปฎิวัติประชาธิปไตยทุนนิยมเสรี
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น