(คดีนี้ไม่มีอายุความ อย่ารีบตายนะท่าน ยุดเหล่)
จาก เพจ. นสช.
เส้นทางของผู้เผด็จการ คสช. สู่ การเป็นอาชญากรต่อมวลมนุษยชาติของโลก
ในกรณีของน้องเปิ้ล กริชสุดา และกรณีอื่นๆ(ที่ยังไม่เป็นข่าว) ถือได้ว่าเป็นอาชญากรรมเกี่ยวกับมนุษยชาติ (Crimes Against Humanity) (ให้ไปดูบทบัญญัติที่ ๗ ของสนธิสัญญากรุงโรม (Rome Treaty) ค.ศ.๑๙๙๘ ที่ก่อตั้งศาลอาญาระหว่างประเทศ ได้ให้นิยามศัพท์แก่คำว่า "อาชญากรรมเกี่ยวกับมนุษยชาติ "เอาไว้ในบทบัญญัติที่ ๗)
ดังนั้น แนวร่วมขบวนการเสรีไทยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ(นสช.) และองค์กรพันธมิตรทั้งในประเทศและต่างประเทศทั้งหลาย จะเดินหน้าผลักดันเรื่องดังกล่าวเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมระหว่างประเทศ ซึ่งได้แก่กระบวนยุติธรรมระหว่างประเทศของสหประชาชาติที่ประเทศไทยได้ลงนาม รับรองและต้องปฏิบัติตามนั้น โดยผ่านช่องทาง ศาลอาญานานาชาติพิเศษของสหประชาชาติ และเส้นทางของเรื่องนี้ที่ นสช.จะผลักดันต่อไป คือส่งเรื่องดังกล่าว ผ่าน ICJ - International Commission of Jurists ขึ้นสู่ ศาลอาญานานาชาติพิเศษของสหประชาชาติต่อไป
ในวันนี้ศาลที่อาจดำเนินการในเรื่องนี้ก็คือ ศาลอาญานานาชาติพิเศษ ๔ ศาลของสหประชาชาติ ที่มีอำนาจพิจารณาและพิพากษาคดีอาญาพิเศษ ๔ ประเภท คือ GENOCIDE (การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์), CRIMES AGAINST HUMANITY (อาชญากรรมเกี่ยวกับมนุษยชาติ), Ethnic Cleansings (อาชญากรรมที่กำจัด หรือขจัดบุคคลเชื้อชาติใดคนใดคนหนึ่ง หรือกลุ่มหนึ่งออกไปจากสังคม หรือพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง), CRIME of AGRESSION (อาชญากรรมที่เกี่ยวกับการรุกราน)
ซึ่ง ความผิดอาญาทั้ง ๔ ฐานนี้ต้องขึ้นศาลนานาชาติในทางอาญาอันเป็นพิเศษของสหประชาชาติที่ตั้งอยู่ ใน บอสเนีย เฮอร์เซโกวีน่า, ราวันด้า, เซียร่าเรนโอน, และศาลอาญาของสหประชาชาติในเขมร ที่เรียกว่า ECCC
เครดิต : โรนิน ยะลา เบตง
รูปประกอบ : ศาลอาญาพิเศษของสหประชาชาติที่กัมพูชา
ในกรณีของน้องเปิ้ล กริชสุดา และกรณีอื่นๆ(ที่ยังไม่เป็นข่าว) ถือได้ว่าเป็นอาชญากรรมเกี่ยวกับมนุษยชาติ (Crimes Against Humanity) (ให้ไปดูบทบัญญัติที่ ๗ ของสนธิสัญญากรุงโรม (Rome Treaty) ค.ศ.๑๙๙๘ ที่ก่อตั้งศาลอาญาระหว่างประเทศ ได้ให้นิยามศัพท์แก่คำว่า "อาชญากรรมเกี่ยวกับมนุษยชาติ "เอาไว้ในบทบัญญัติที่ ๗)
ดังนั้น แนวร่วมขบวนการเสรีไทยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ(นสช.) และองค์กรพันธมิตรทั้งในประเทศและต่างประเทศทั้งหลาย จะเดินหน้าผลักดันเรื่องดังกล่าวเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมระหว่างประเทศ ซึ่งได้แก่กระบวนยุติธรรมระหว่างประเทศของสหประชาชาติที่ประเทศไทยได้ลงนาม รับรองและต้องปฏิบัติตามนั้น โดยผ่านช่องทาง ศาลอาญานานาชาติพิเศษของสหประชาชาติ และเส้นทางของเรื่องนี้ที่ นสช.จะผลักดันต่อไป คือส่งเรื่องดังกล่าว ผ่าน ICJ - International Commission of Jurists ขึ้นสู่ ศาลอาญานานาชาติพิเศษของสหประชาชาติต่อไป
ในวันนี้ศาลที่อาจดำเนินการในเรื่องนี้ก็คือ ศาลอาญานานาชาติพิเศษ ๔ ศาลของสหประชาชาติ ที่มีอำนาจพิจารณาและพิพากษาคดีอาญาพิเศษ ๔ ประเภท คือ GENOCIDE (การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์), CRIMES AGAINST HUMANITY (อาชญากรรมเกี่ยวกับมนุษยชาติ), Ethnic Cleansings (อาชญากรรมที่กำจัด หรือขจัดบุคคลเชื้อชาติใดคนใดคนหนึ่ง หรือกลุ่มหนึ่งออกไปจากสังคม หรือพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง), CRIME of AGRESSION (อาชญากรรมที่เกี่ยวกับการรุกราน)
ซึ่ง ความผิดอาญาทั้ง ๔ ฐานนี้ต้องขึ้นศาลนานาชาติในทางอาญาอันเป็นพิเศษของสหประชาชาติที่ตั้งอยู่ ใน บอสเนีย เฮอร์เซโกวีน่า, ราวันด้า, เซียร่าเรนโอน, และศาลอาญาของสหประชาชาติในเขมร ที่เรียกว่า ECCC
เครดิต : โรนิน ยะลา เบตง
รูปประกอบ : ศาลอาญาพิเศษของสหประชาชาติที่กัมพูชา
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น